รวมบทความ และข้อมูลความรู้เกี่ยวกับสวัสดิการและบริการสำหรับประชาชนที่ทุกคนอยากรู้ เช่น ประกันสังคม สิทธิการรักษา สวัสดิการความช่วยเหลือ และอื่น ๆ ในเว็บเดียว
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คืออะไร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คือ ภาษีที่คนมีรายได้ถึงเกณฑ์ที่กำหนดจะต้องจ่ายเป็นประจำทุกปี โดยจ่ายเป็นอัตราขั้นบันไดหรืออัตราก้าวหน้า คือยิ่งมีรายได้มากก็ยิ่งเสียภาษีมากตามไปด้วย ซึ่งภาษีเหล่านี้ก็คือเงินที่จะถูกนำไปใช้ในการพัฒนาประเทศของเรานั่นเอง ใครบ้างที่ต้องเสียภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล ผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง วิสาหกิจชุมชน ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม วิสาหกิจชุมชน เฉพาะที่เป็นห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล รายได้อะไรบ้างที่ต้องเสียภาษี? เงินได้ (หรือ รายได้) ที่ต้องเสียภาษี หรือ “เงินได้พึงประเมิน” คือรายได้ที่เกิดขึ้นระหว่าง 1 มกราคม – 31 ธันวาคม ของทุกปี ได้แก่ เงิน ทรัพย์สินที่สามารถตีราคาเป็นเงินได้ เช่น รถยนต์ บ้าน นาฬิกา เป็นต้น สิทธิประโยชน์ที่คำนวณเป็นเงินได้ เช่น ลูกจ้างที่ได้รับสิทธิอยู่บ้านฟรี หรือให้อาหารกลางวัน เป็นต้น เงินค่าภาษีที่คนอื่นออกให้แทน เช่น การหักภาษี ณ ที่จ่าย เครดิตภาษีเงินปันผล เช่น เงินปันผลที่ได้จากหุ้น
http://www.portal.co.thวิธียื่นเสียภาษี การยื่นเสียภาษี เป็นการใช้ข้อมูลเงินของปีก่อนหน้า เพื่อนำมาคำนวณและยื่นเสียภาษีประจำปี มีขั้นตอน ดังนี้ เลือกประเภทของแบบฟอร์ม ภ.ง.ด. 91 คือ ผู้ที่มีรายได้จากช่องทางเดียว เช่น พนักงานบริษัท ภ.ง.ด. 90 คือ ผู้ที่มีรายได้หลายช่องทาง เช่น ฟรีแลนซ์ หรือพ่อค้าแม่ค้าที่ไม่ได้จดทะเบียนนิติบุคคล เป็นต้น เอกสารที่ต้องเตรียม หนังสือรับรองภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายหรือใบ 50 ทวิ สำหรับพนักงานออฟฟิศหรือผู้ที่เคยถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้ รายการลดหย่อนภาษีของทั้งปี เอกสารประกอบการลดหย่อนภาษี สำหรับใช้เป็นหลักฐานในการยื่นเรื่อง บัญชีธนาคารที่ผูกกับพร้อมเพย์สำหรับรับเงินในกรณีที่ได้ภาษีคืน ซึ่งวิธีนี้จะได้เงินเร็วกว่าการสั่งจ่ายเงินแบบเช็คและส่งผ่านทางไปรษณีย์ วิธีการชำระ ชำระผ่านช่องทางออนไลน์ ชำระด้วย E – Payment ชำระด้วยบัตรเครดิตและบัตรเดบิต ชำระด้วย Internet Banking และ Mobile Banking ชำระผ่านแอป True Money และ easyBills ชำระผ่านช่องทางออฟไลน์ ชำระผ่านตู้ ATM ชำระผ่าน Tele Banking ของธนาคารที่เข้าร่วมโครงการ ชำระได้ที่เคาน์เตอร์เซอร์วิส บิ๊กซี และโลตัส ชำระได้ที่ที่ทำการไปรษณีย์ ชำระได้ที่ธนาคารที่เข้าร่วมโครงการ ชำระด้วยบัตรเอเทีเอ็ม บัตรเดบิต หรือบัตรเครดิต ได้ที่สำนักงานสรรพากรสาขาที่กำหนด ชำระด้วยเช็คหรือดราฟต์ ได้ที่สำนักงานสรรพากรสาขาที่กำหนด ชำระด้วยธนาณัติ สำหรับผู้ที่มีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพเท่านั้น การขอผ่อนชำระ มียอดเสียภาษีเกิน 3,000 บาท สามารถยื่นเรื่องขอผ่อนชำระได้ ทั้งในกรณียื่นภาษีออนไลน์และยื่นที่สรรพากร สามารถแบ่งจ่ายได้ 3 งวด งวดละเท่ากัน โดยไม่เสียดอกเบี้ยและค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม แต่หากไม่จ่ายภายในระยะเวลาที่กำหนด จะถูกคิดดอกเบี้ย 1.5% ของยอดภาษีที่ค้างจ่าย/เดือน งวดที่ 1 จ่ายในวันที่ยื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา งวดที่ 2 จ่ายภายใน 1 เดือน หลังจากการจ่ายงวดที่ 1 งวดที่ 3 จ่ายภายใน 1 เดือน หลังจากการจ่ายงวดที่ 2
https://portal.co.thทำไมต้องขึ้นทะเบียนว่างงาน ปฏิเสธไม่ได้ว่าความรู้สึกกังวลและทุกข์ใจอาจเกิดขึ้นได้ เมื่อต้องตกอยู่ในสถานะคนว่างงาน ผู้ประกันตนสามารถขึ้นทะเบียนผู้ว่างงาน เพื่อขอรับสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่กำหนด อีกทั้งขั้นตอนการขึ้นทะเบียนก็ไม่ได้ยุ่งยาก สามารถทำผ่านระบบออนไลน์ได้ เพียงทำให้ถูกต้องตามขั้นตอน ผู้ประกันตนก็จะได้รับความช่วยเหลือยามว่างงาน อย่างน้อยที่สุดก็จะช่วยให้มีเวลาหางานใหม่โดยไม่ต้องร้อนใจมากจนเกินไป ขึ้นทะเบียนไว้ สบายใจขึ้น การขึ้นทะเบียนเมื่อต้องว่างงาน เป็นผู้ประกันตน ม.33 ที่จ่ายเงินสมทบมาแล้ว 6 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือนก่อนว่างงาน ไม่ว่าจะลาออกเอง เลิกจ้าง หรือว่างงานจากเหตุสุดวิสัย (กรณีได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ COVID-19) ว่างงานตั้งแต่ 8 วันขึ้นไป ขึ้นทะเบียนผ่านเว็บไซต์กรมการจัดหางาน ภายใน 30 วัน เพื่อไม่ให้เสียสิทธิในการรับเงินทดแทน รายงานตัวออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ของกรมการจัดหางาน เดือนละ 1 ครั้ง มีความพร้อมและสามารถทำงานที่จัดหาให้ได้ ไม่ปฏิเสธการฝึกงาน ไม่ถูกเลิกจ้างในกรณีต่อไปนี้ ทุจริตต่อหน้าที่ กระทำผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย ฝ่าฝืนข้อบังคับ หรือระเบียบเกี่ยวกับการทำงาน ขาดงาน 7 วันติดต่อกัน โดยไม่มีเหตุอันควร ประมาทจนทำให้นายจ้างได้รับความเสียหายร้ายแรง ได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษา ไม่เป็นผู้มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนในกรณีชราภาพ ไม่เป็นผู้ประกันตนโดยสมัครใจตามมาตรา 39
รวมบทความ และข้อมูลความรู้เกี่ยวกับสวัสดิการและบริการสำหรับประชาชนที่ทุกคนอยากรู้ เช่น ประกันสังคม สิทธิการรักษา สวัสดิการความช่วยเหลือ และอื่น ๆ ในเว็บเดียว
วิธียื่นเสียภาษี การยื่นเสียภาษี เป็นการใช้ข้อมูลเงินของปีก่อนหน้า เพื่อนำมาคำนวณและยื่นเสียภาษีประจำปี มีขั้นตอน ดังนี้ เลือกประเภทของแบบฟอร์ม ภ.ง.ด. 91 คือ ผู้ที่มีรายได้จากช่องทางเดียว เช่น พนักงานบริษัท ภ.ง.ด. 90 คือ ผู้ที่มีรายได้หลายช่องทาง เช่น ฟรีแลนซ์ หรือพ่อค้าแม่ค้าที่ไม่ได้จดทะเบียนนิติบุคคล เป็นต้น เอกสารที่ต้องเตรียม หนังสือรับรองภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายหรือใบ 50 ทวิ สำหรับพนักงานออฟฟิศหรือผู้ที่เคยถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้ รายการลดหย่อนภาษีของทั้งปี เอกสารประกอบการลดหย่อนภาษี สำหรับใช้เป็นหลักฐานในการยื่นเรื่อง บัญชีธนาคารที่ผูกกับพร้อมเพย์สำหรับรับเงินในกรณีที่ได้ภาษีคืน ซึ่งวิธีนี้จะได้เงินเร็วกว่าการสั่งจ่ายเงินแบบเช็คและส่งผ่านทางไปรษณีย์ วิธีการชำระ ชำระผ่านช่องทางออนไลน์ ชำระด้วย E – Payment ชำระด้วยบัตรเครดิตและบัตรเดบิต ชำระด้วย Internet Banking และ Mobile Banking ชำระผ่านแอป True Money และ easyBills ชำระผ่านช่องทางออฟไลน์ ชำระผ่านตู้ ATM ชำระผ่าน Tele Banking ของธนาคารที่เข้าร่วมโครงการ ชำระได้ที่เคาน์เตอร์เซอร์วิส บิ๊กซี และโลตัส ชำระได้ที่ที่ทำการไปรษณีย์ ชำระได้ที่ธนาคารที่เข้าร่วมโครงการ ชำระด้วยบัตรเอเทีเอ็ม บัตรเดบิต หรือบัตรเครดิต ได้ที่สำนักงานสรรพากรสาขาที่กำหนด ชำระด้วยเช็คหรือดราฟต์ ได้ที่สำนักงานสรรพากรสาขาที่กำหนด ชำระด้วยธนาณัติ สำหรับผู้ที่มีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพเท่านั้น การขอผ่อนชำระ มียอดเสียภาษีเกิน 3,000 บาท สามารถยื่นเรื่องขอผ่อนชำระได้ ทั้งในกรณียื่นภาษีออนไลน์และยื่นที่สรรพากร สามารถแบ่งจ่ายได้ 3 งวด งวดละเท่ากัน โดยไม่เสียดอกเบี้ยและค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม แต่หากไม่จ่ายภายในระยะเวลาที่กำหนด จะถูกคิดดอกเบี้ย 1.5% ของยอดภาษีที่ค้างจ่าย/เดือน งวดที่ 1 จ่ายในวันที่ยื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา งวดที่ 2 จ่ายภายใน 1 เดือน หลังจากการจ่ายงวดที่ 1 งวดที่ 3 จ่ายภายใน 1 เดือน หลังจากการจ่ายงวดที่ 2
https://portal.co.thทำไมต้องขึ้นทะเบียนว่างงาน ปฏิเสธไม่ได้ว่าความรู้สึกกังวลและทุกข์ใจอาจเกิดขึ้นได้ เมื่อต้องตกอยู่ในสถานะคนว่างงาน ผู้ประกันตนสามารถขึ้นทะเบียนผู้ว่างงาน เพื่อขอรับสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่กำหนด อีกทั้งขั้นตอนการขึ้นทะเบียนก็ไม่ได้ยุ่งยาก สามารถทำผ่านระบบออนไลน์ได้ เพียงทำให้ถูกต้องตามขั้นตอน ผู้ประกันตนก็จะได้รับความช่วยเหลือยามว่างงาน อย่างน้อยที่สุดก็จะช่วยให้มีเวลาหางานใหม่โดยไม่ต้องร้อนใจมากจนเกินไป ขึ้นทะเบียนไว้ สบายใจขึ้น การขึ้นทะเบียนเมื่อต้องว่างงาน เป็นผู้ประกันตน ม.33 ที่จ่ายเงินสมทบมาแล้ว 6 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือนก่อนว่างงาน ไม่ว่าจะลาออกเอง เลิกจ้าง หรือว่างงานจากเหตุสุดวิสัย (กรณีได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ COVID-19) ว่างงานตั้งแต่ 8 วันขึ้นไป ขึ้นทะเบียนผ่านเว็บไซต์กรมการจัดหางาน ภายใน 30 วัน เพื่อไม่ให้เสียสิทธิในการรับเงินทดแทน รายงานตัวออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ของกรมการจัดหางาน เดือนละ 1 ครั้ง มีความพร้อมและสามารถทำงานที่จัดหาให้ได้ ไม่ปฏิเสธการฝึกงาน ไม่ถูกเลิกจ้างในกรณีต่อไปนี้ ทุจริตต่อหน้าที่ กระทำผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย ฝ่าฝืนข้อบังคับ หรือระเบียบเกี่ยวกับการทำงาน ขาดงาน 7 วันติดต่อกัน โดยไม่มีเหตุอันควร ประมาทจนทำให้นายจ้างได้รับความเสียหายร้ายแรง ได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษา ไม่เป็นผู้มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนในกรณีชราภาพ ไม่เป็นผู้ประกันตนโดยสมัครใจตามมาตรา 39
https://www.portal.co.thขั้นตอนและเอกสารที่ใช้ ช่องทางออนไลน์ ลงทะเบียนผ่าน เว็บไซต์กรมการจัดหางาน โดยกรอกข้อมูล และอัปโหลดเอกสารที่จำเป็น ดังนี้ ข้อมูลส่วนตัว วุฒิการศึกษา สถานะการออกจากงาน: ลาออก หรือเลิกจ้าง ข้อมูลต้องการหางานทำ: ค้นหาตำแหน่งงานว่าง หรือเลือกสมัครงาน ข้อมูลการประกอบอาชีพอิสระ: ระบุประเภทอาชีพ กรอกข้อมูลในแบบคำขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน สปส. 2-01/7 แนบไฟล์สำเนาหน้าสมุดบัญชีเงินฝาก (ออมทรัพย์) ผ่าน 8 ธนาคาร ได้แก่ ธ.กรุงไทย ธ.กรุงศรีอยุธยา ธ.กรุงเทพ ธ.ไทยพาณิชย์ ธ.กสิกรไทย ธ.ทหารไทยธนชาต ธ.ซีไอเอ็มบีไทย ธ.อิสลามแห่งประเทศไทย จุดบริการ สำนักงานประกันสังคม นำส่งและยื่นเรื่องที่สำนักงานประกันสังคมสาขาใกล้บ้าน โดยใช้เอกสารดังนี้ แบบคำขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน (สปส. 2-01/7) บัตรประจำตัวประชาชน พร้อมสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน รูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว 1 รูป (ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน) หนังสือรับรองการออกจากงาน หรือสำเนาแบบแจ้งการลาออกจากงานของผู้ประกันตนออกจากงานของผู้ประกันตน (สปส. 6 -09) (ถ้ามี) หนังสือหรือคำสั่งของนายจ้างให้ออกจากงาน (ถ้ามี) หนังสือรับรองการขอรับประโยชน์ทดแทนในกรณีว่างงาน เนื่องจากเหตุสุดวิสัย (กรณีผู้ประกันตนว่างงานจากเหตุสุดวิสัย) สำเนาหน้าสมุดบัญชีเงินฝาก (ออมทรัพย์) ผ่าน 10 ธนาคาร ดังนี้